วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2555

ทำไมดอกพุดตานเปลี่ยนสี








         ดอกพุดตาน เมื่อดอกแรกบานจะมีสีขาว และจะเปลี่ยนเป็นสีชมพู
และจะเปลี่ยนเป็นชมพูเข้ม และเมื่อดอกเหี่ยวจะมีสีม่วงชมพู
         สมมุติฐานเป็นไปได้ 2 ทาง 1. ความเข้มของแสง 2. การสะสมอุณหภูมิ ตอนเช้าอากาศเย็น สาย ๆ อากาศจะค่อย ๆ ร้อนขึ้น จนถึงตอนเย็น การสะสมความร้อนจากเช้าถึงเย็นทำให้สีค่อย ๆ เข้มขึ้น เพราะหากใครมีดอกพุดตาน ก็ลองนำไปไว้ในห้องแอร์ที่ควบคุมอุณหภูมิได้ แต่เปิดแสงสว่างของห้องตามปกติ ดูว่าสีดอกจะเปลี่ยนไปอย่างไร เรื่องนี้ไม่เกี่ยวกับ ยีน แต่อยู่ที่เม็ดสีที่กลีบดอก
         การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่างได้แก่ ชนิดและความเข้มข้นของแอนโธไซยานิน ค่า pH และสารเมตาบอไลท์ (metabolite) ที่พบเช่น ไอออนต่างๆ น้ำตาลต่างๆ ฮอร์โมนต่างๆ
         นอกจากนี้พบว่าปัจจัยภายนอกบางประการ เช่น อุณหภูมิ ยังมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนสีของดอกพุดตานด้วย โดยนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองเก็บดอกพุดตานสีขาวไปไว้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ เช่น ในตู้เย็นและสังเกตการเปลี่ยนสีของดอก พบว่าในตู้เย็นมีอุณหภูมิต่ำดอกพุดตานจะไม่เปลี่ยนสียังคงมีสีขาว แต่เมื่อนำดอกพุดตานออกจากตู้เย็นไปไว้ข้างนอกที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสีของดอกจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกลายเป็นสีชมพูอ่อน ๆ และเมื่อนำไปไว้ในที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้อง สีของดอกก็จะเปลี่ยนเป็นสีชมพูเข้มขึ้น แต่การเปลี่ยนสีของดอกที่ทำภายในห้องปฏิบัติการนี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงช้ากว่าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ


           นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับสารสีในดอก โดยได้ทดลองสกัดสารสีในดอกพุดตานที่มีการเปลี่ยนแปลงสีในช่วงเวลาต่าง ๆ พบว่าดอกที่มีสีขาวหรือสีงาช้างเมื่อเก็บจากต้นในตอนเช้า (08.00 น.) มาทำการสกัดสารสี จะไม่พบแอนโทไซยานินแต่จะพบสารฟลาโวนอลแทน เมื่อสกัดสารสีในดอกที่มีสีชมพูที่เก็บมาจากต้นในตอนเที่ยง (12.00 น.) จะพบแอนโทไซยานินในปริมาณเพียง 1 ใน 3 เมื่อเปรียบเทียบกับดอกที่มีสีชมพูแดงที่เก็บมาจากต้นในตอนเย็น (16.00 น.)ซึ่งจะพบแอนโทไซยานินในปริมาณที่เข้มข้นมากที่สุด ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของแอนโทไซยานิน

อ้างอิงจาก  : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://biology.ipst.ac.th/
                   :  http://www.vcharkarn.com/vcafe/40463

21 ความคิดเห็น:

  1. ด.ช.อดิเทพ ภูคา12 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:07

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ช.อดิเทพ ภูคา ป.4/1 เลขที่ 11

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ12 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:09

    ด.ช.กานต์ สีดา ป4/1
    เวลาแดดออกดอกพุดตานจะเปลี่ยนสี

    ตอบลบ
  3. ด.ญ.มาริสา คำอ่อน13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:07

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ.มริสา คำอ่อนป. 4/1 เลขที่ 21

    ตอบลบ
  4. ด.ญ นิศารัตน์ จินเขตกิจ13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:11

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ นิศารัตน์ จินเขตกิจ ชั้น ป.4/1 เลขที่ 29

    ตอบลบ
  5. ด.ญ.ปรางค์ทิพย์ ปอสูงเนิน13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:15

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ.ปรางทิพย์ ปอสูงเนิน ป. 4/1 เลขที่ 25

    ตอบลบ
  6. ด.ช.เกียรติชัย เข็มพันธ์13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:16

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ช.เกียรติชัย เข็มพันธ์ ป.4/1 เลขที่ 2

    ตอบลบ
  7. ด.ญ.ศิริรัตน์ กองอาสา13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:18

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ .ศิริรัตน์ กองอาสา ชั้นป.4/1 เลขที่ 20

    ตอบลบ
  8. ด.ช.ภราดร วงษ์เศษ13 กรกฎาคม 2553 เวลา 12:20

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ช.ภราดร วงษ์เศษ ป4/1 เลขที่ 5

    ตอบลบ
  9. ด.ช. ปฏิภาณ เจริญสุข16 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:32

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ช. ปฏิภาณ เจริญสุข ป.4/1 เลขที่ 13

    ตอบลบ
  10. ด.ญ.วาณิชญา จันตั้ง16 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:36

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ.วาณิชญา จันตั้ง ป.4/1 เลขที่ 34

    ตอบลบ
  11. ด.ญ.ฉัตรประภา พลหาญ16 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:40

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่าง
    ด.ญ.ฉัตรประภา พลหาญ ป.4/1 เลขที่ 22

    ตอบลบ
  12. ด.ญ.เกวลิน สุดดี18 กรกฎาคม 2553 เวลา 13:44

    การเปลี่ยนสีของดอกไม้เหล่านี้เกิดมาจากรงคงวัตถุในกลุ่มแอนโธไซยานิน สีและความคงทนของแอนโธไซยานินแต่ละชนิดในสารละลายจะขึ้นอยู่กับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ซึ่งจะให้สีที่แตกต่างกันจากสีแดง (ในสภาวะที่เป็นกรด) ไปถึงสีน้ำเงินถึงสีเหลือง (ในสภาวะที่เป็นด่าง) สีของเนื้อเยื่อจริงๆ จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2-3 อย่างได้แก่ ชนิดและความเข้มข้นของแอนโธไซยานิน ค่า pH และสารเมตาบอไลท์ (metabolite) ที่พบเช่น ไอออนต่างๆ น้ำตาลต่างๆ ฮอร์โมนต่างๆ
    ด.ญ.เกวลิน สุดดี ป.4/2 เลขที่24
    17 กรกฎาคม 2553,13.34

    ตอบลบ
  13. ด.ช.ปฏิภาณ เจริญสุข ป.4/1 เลขที่ 1319 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:56

    การเปลี่ยนสีของดอกพุดตาน เกิดจากการเก็บสะสมอุณหภูมิของกลีบดอก เมื่อมีแสงแดดทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น จึงมีผลทำให้เม็ดสีที่กลีบดอกพุดตานเปลี่ยนไป กลายเป็นสีชมพู

    ตอบลบ
  14. ด.ช.อดิเทพ ภูคา19 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:57

    เพราะว่าเมล็ดมันเปลี่ยนสีกับกลีบดอก
    ด.ช.อดิเทพ ภูคา ป.4/1 เลขที่ 11

    ตอบลบ
  15. ด.ช.เกียรติชัย เข็มพันธ์24 กรกฎาคม 2553 เวลา 18:13

    ดอกพุดตานเปลี่ยนสีตามเวลาค่ะ ตอนเช้า จะสีอ่อน กลางวันก้อค่อยๆเข้มขึ้นค่ะ เป็นพืชที่เปลี่ยนสีดอกให้เข้มขึ้น เมื่อได้รับแสงแดดเพิ่มขึ้นสาเหตุที่กลีบดอกพุดตาน สามารถเปลี่ยนสีจากขาว เป็นสีชมพู หรือแดงได้ ก็เนื่องมาจาก การเปลี่ยนสีของ รงควัตถุ พวกหนึ่งที่ชื่อว่า แอนโทไซยานิน ที่มีอยู่ภายในเซลล์ของกลีบดอก รงควัตถุนี้จะเปลี่ยนสี เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมความเป็นกรดด่าง ที่เปลี่ยนไปของเซลล์

    ด.ช.เกียรติชัย เข็มพันธ์ ชั้น ป.4/1 เลขที่ 2

    ตอบลบ
  16. ไม่ระบุชื่อ28 กรกฎาคม 2553 เวลา 17:13

    ด.ญ.นัฐธิดา มืดขุนทด

    ดอกพุดตานเมื่อแดดออกจะเปลี่ยนสีค่ะ


    ป.4/1 เลขที่33

    ตอบลบ
  17. ไม่ระบุชื่อ3 สิงหาคม 2553 เวลา 16:03

    เพราะว่าเมล็ดกับเเสงเเละการสะสมความร้อน
    ด.ช.อดิเทพ ภูคา ป.4/1 เลขที่ 11

    ตอบลบ
  18. ไม่ระบุชื่อ3 สิงหาคม 2553 เวลา 16:11

    จะเปลียนสีตามเเสงเเดดที่เข้มเเละอ่อนเป็นสีขาวตอนเเดดอ่อนเป็นสีขาวอมชมพูเวลาเที่ยงเป็นสีเข้มเวลาเย็น
    ด.ช.ภราดร วงษ์เศษ ป.4/1 เลขที่ 5

    ตอบลบ
  19. ด.ญ.พิมลวรรณ กุดั่น11 สิงหาคม 2553 เวลา 11:11

    ดอกพุดตานเมื่อมีแดดจะเปลี่ยนสีเป็นระยะ

    11 สิงหาคม 2553 ป.4/1 เลขที่32

    ตอบลบ
  20. ด.ญ. สมิตา จำปาแดง25 สิงหาคม 2553 เวลา 11:14

    ด.ญ.สมิตา จำปาแดง

    เมื่อแดดออกดอกพุดตานจะเปี่ยนสีเป้นสีชมพุเข้ม

    25สิงหาคม พ.ศ. 2553 ป.4/1เลขที่ 24

    23.40






















































    ด.ญ.สมิตา จำปาเเดง

    ตอบลบ
  21. ไม่ระบุชื่อ10 กรกฎาคม 2559 เวลา 19:52

    ดอกพุดตานตอบสนองต่ออุณภูมิ

    ตอบลบ